Loading Events

Events for 25 October, 2023

Events Search and Views Navigation

Event Views Navigation

All Day

6th Conference on Human Rights: Indigeneity and Human Rights in Asia and the Pacific Towards a Just Society: Challenges and Opportunities?

25 October, 2023 - 26 October, 2023

Background The relationship between indigeneity and human rights has long caused various challenges to promoting democracy and fulfilling human rights in Asia and the Pacific region. Some of the basic rights of indigenous people have continued to strengthen as indicated by the existence of political and legal movements. However, it was also found that indigenous…

Find out more »

Ongoing

Manel Exhibition: Where Are the Women?

17 October, 2023 @ 10:00 am - 29 October, 2023 @ 8:00 pm

Women’s voices continue to be underrepresented, if not denied, in government institutions and processes and in the public and academic arena. In spite of significant progress in fostering gender equity globally, patriarchal norms remain deeply entrenched in society and continue to manifest themselves in multiple forms. One of these seemingly innocuous, but actually pernicious form,…

Find out more »

Photo Exhibition Who Cares? COVID-19 Divides in Southeast Asia

17 October, 2023 @ 10:00 am - 12 November, 2023 @ 8:00 pm

Exhibition Background The photo exhibition “Who Cares? COVID-19 Divides in Southeast Asia” organized by SEA Junction on 17 October - 12 November and displayed at the 3rd Floor’s Curved Wall of the Bangkok Arts and Culture Center (BACC)—documents how the pandemic in Southeast Asia laid bare the entrenched wealth and welfare inequities in society and…

Find out more »

นิทรรศการภาพถ่าย “Who Cares? โควิด-19 การตอบสนองการคุ้มครองสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”

17 October, 2023 @ 10:00 am - 29 October, 2023 @ 8:00 pm

คำอธิบายนิทรรศการ งานนิทรรศการภาพถ่าย "Who Cares? โควิด-19 การตอบสนองการคุ้มครองสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้" จัดโดย SEA-Junction ในวันที่ 17-29 ตุลาคม พ.ศ. 2566 และจัดแสดงบนผนังโค้ง ชั้น 3 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครฯ บันทึกว่าโรคระบาดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปิดเผยการกักตุนความมั่งคั่งและความไม่เสมอภาคด้านสวัสดิการที่ฝังรากลึกในสังคม และผลกระทบที่หลากหลายต่อความเป็นอยู่และความปลอดภัยของประชากรกลุ่มต่างๆ รวมถึงการตอบสนองต่อวิกฤตทางสังคมที่แตกต่างกัน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป จำนวนผู้เสียชีวิตจากการระบาดใหญ่ในตอนแรกนั้นมีจำกัดเมื่อเทียบกับจำนวนผู้เสียชีวิตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นคาบสมุทรและตัวเลขทั่วโลก ก่อนที่สถานการณ์ที่ดูเหมือนจะปลอดภัยนี้ จะเริ่มเปลี่ยนแปลงภายในสิ้นปี 2563 เมื่อเชื้อโควิดสายพันธุ์ใหม่อุบัติขึ้นและในที่สุดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็กลายเป็นศูนย์กลางการแพร่ระบาดระดับโลกภายในกลางปี 2564 เนื่องจากการขยายตัวของไวรัสสายพันธุ์เดลต้า ทั่วทั้งภูมิภาคได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ทั้งความเสียหายจากโรคโควิด-19 ในด้านสาธารณสุข เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนถึงมาตรการป้องกันการระบาดที่ถูกบังคับใช้อย่างเข้มงวด ซึ่งบางครั้งก็มีการบังคับใช้อย่างไม่สอดคล้องกัน มีความหนักหนาสาหัสกระจายไปอย่างกว้างขวางและไม่เท่าเทียมกัน กล่าวโดยรวมแล้ว เศรษฐกิจในภูมิภาคหดตัวลงมากที่สุดนับตั้งแต่วิกฤตต้มยำกุ้งในปี 2540 ความเปราะบางของแรงงานนอกระบบ ผู้หญิงและกลุ่มคนชายขอบก็ได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก ด้วยการล่าถอยครั้งใหญ่ของวิกฤตนี้ สังคมได้ถูกท้าทายให้ปกป้องผู้เปราะบางที่สุดเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นความท้าทายในการให้เงินอุดหนุนที่ไม่เพียงพอหรือไม่มีอยู่จริง สำหรับแรงงานนอกระบบและแรงงานข้ามชาติ รวมไปถึงคนที่อยู่นอกตลาดแรงงาน ผู้พิการและผู้สูงอายุ  เนื่องจากการสนับสนุนจากรัฐบาลยังห่างไกลจากความเพียงพอหรือยุติธรรม กลุ่มผู้คน ชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไรจึงก้าวเข้ามาเพื่อพยายามเติมเต็มช่องว่างเหล่านี้ด้วยการแจกจ่ายอาหารและความช่วยเหลือ ตลอดจนให้บริการด้านสุขภาพ การดูแลครอบครัว และบริการงานศพแก่ผู้ที่ไม่สามารถเข้าถึงความช่วยเหลือเหล่านี้ ช่างภาพจาก 6…

Find out more »

5:30 pm

งานเปิดตัวหนังสือ “Who Cares? โควิด-19 การตอบสนองการคุ้มครองสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” และงานเสวนาถอดประสบการณ์ประเทศไทยสู่บทเรียนในอนาคต

25 October, 2023 @ 5:30 pm - 7:00 pm

ในวันที่ 25 ตุลาคม 2566 เวลา 17.30 น. SEA Junction ร่วมกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม และ สำนักพิมพ์ซิลค์เวิร์ม จะจัดงานเปิดตัวหนังสือ เรื่อง “Who Cares? โควิด-19 การตอบสนองการคุ้มครองสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ฉบับภาษาไทย เรียบเรียงโดยโรซาเลีย ชอร์ติโน จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ซิลค์เวอร์ม ในงานจะมีหนังสือตัวอย่างจำนวนหนึ่งจัดไว้สำหรับผู้เข้าร่วม งานเปิดตัวครั้งนี้จะมีการเสวนา โดยเน้นเนื้อหาของหนังสือในบทที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยที่นำเสนอการคุ้มครองทางสังคมในช่วงสถานการณ์โควิด-19 และอภิปรายถึงนโยบายในการดำเนินการสำหรับประชากรไทยในภาพรวม เช่น สวัสดิการสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ แรงงาน กลุ่มประชากรที่มีความเปราะบาง และการช่วยเหลือในรูปแบบของกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ ที่รัฐบาลไทยมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการใช้จ่ายของผู้บริโภคและการฟื้นตัวของเศรษฐกิจมหภาค ด้วยการโอนเงินอุดหนุนจากรัฐบาล รวมถึงโครงการคนละครึ่งที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายของผู้บริโภค สนับสนุนภาคธุรกิจ และส่งเสริมเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นมาตรการที่ยังคงนำกลับมาใช้ในปัจจุบันนี้ ในช่วงที่ยอดผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์เดลต้าอยู่ในจุดสูงสุด อย่างไรก็ตาม มาตรการเหล่านี้กลับไม่ได้ก่อประโยชน์กับผู้ที่ขาดแคลนและไม่ตอบสนองความต้องการอันเร่งด่วนของผู้ด้อยโอกาสมากนัก เนื่องจากมาตรการเหล่านี้จำกัดทางเลือกในการซื้อของเฉพาะจากเครือร้านค้าขนาดกลางและขนาดใหญ่ (จึงไม่ใช่ผู้ขายรายย่อยและธุรกิจครอบครัวขนาดเล็ก ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดมากที่สุด) เนื้อหาในบทนี้เป็น ‘สิ่งที่เกิดขึ้นจริง’ ผู้เขียนได้อภิปรายถึงการตอบสนองของรัฐบาลไทยเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ในช่วงปีที่สองของการระบาดใหญ่ แม้ว่าหลายคนจะถือว่าวิกฤตการระบาดโควิดได้จบลงแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมยังคงอยู่ และอย่างน้อยที่สุดเราก็สามารถเรียนรู้จากอดีตที่ผ่านมาว่าจะจัดการกับวิกฤตได้ดีที่สุดอย่างไร งานเสวนาจัดเป็นภาษาไทย โดยมีกำหนดการดังนี้ กล่าวต้อนรับโดย รศ.…

Find out more »
+ Export Events