- This event has passed.
Panel Discussion “Life of ‘Sea Gypsies’ along the Shoreline of Andaman Sea of Southern Thailand” (in Thai)
19 September, 2019 @ 6:00 pm - 7:30 pm
The generic terms “sea gypsies” or “people of the sea” apply to a number of populations that live off the seas along the coastlines of Southeast Asia for hundreds of years. Their customary roving existence, is threatened by the rapid socio-economic and cultural changes around them.
On 19 September 2019 at 6:00 pm, SEA Junction will hold a panel discussion on the three sea nomadic groups living along the Andaman coastal provinces of Thailand, namely the Moken, Moglen, and Urak Lawoi scattered over the islands. In particular, the focus will be on the Moken, a population of 1000 people living in the areas of Ranong, Pang-nga and Phuket. Normally, they would make temporary settlements during the monsoon season, but the government is trying to move them to more permanent arrangements compelling them to adjust their daily habits. The deterioration of the environment and, ironically, also the measures taken to protect it through for instance marine parks in areas where they used to live restrict their livelihoods options. The panel presentations including a photographic slide show on the lives and livelihoods of the Moken people in Surin islands, will reflect on the role of the State in governing indigenous people and the impacts of tourism on the sea gipsies and their habitat.
This event will be in Thai language (please note that NO English translation will be provided).
Moderator: Tipakson Manpati, Administration and Logistics Officer, SEA Junction
Panelists:
- Yostorn Triyos, photographer and founder of REALFRAME
- Dr. Narumon Arunotai, Professor and Researcher at Chulalongkorn University Social Research Institute
- Wittawat Tepsong, Coordinator for Andaman Sea Gypsy People Network
Q&A
Speakers’ Short Bios
Yostorn Triyos
Yostorn Triyos is a photographer and founder of REALFRAME and has an interest in portraying people in vulnerable situations including human rights and democracy. For his work, visit the website of his group http://realframe.co/
Narumon Arunotai
Dr. Narumon Arunotai is a Professor and Researcher at Chulalongkorn University Social Research Institute. She has conducted research on sea gypsies in Southern Thailand.
Wittawat Tepsong
Wittawat Tepsong is a local activist with the Andaman Sea Gypsy People Network, who has worked several years to promote sea gypsy indigenous rights along the Andaman coastal provinces of Thailand.
For Information/reservation for our events please email southeastasiajunction@gmail.com or phone/wa +66970024140
NB: The event is free, but donations are most welcome!
Organizer
SEA-Junction, OUR Venue on Southeast Asia
SEA Junction aims to foster understanding and appreciation of Southeast Asia in all its socio-cultural dimensions – from arts and lifestyles to economy and development. Conveniently located at Room 408 of the Bangkok Arts and Culture Center or BACC (across MBK, BTS National Stadium), SEA Junction facilitates public access to knowledge resources and exchanges among students, practitioners and Southeast Asia lovers. For more information see www.seajunction.org and joint the Facebook group: http://www.facebook.com/groups/1693055870976440/
งานเสวนา “ชีวิต ‘ชาวเล’ บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันภาคใต้ของประเทศไทย” (งานเสวนาในภาษาไทย)
19 กันยายน @ 18:00 น. – 19:30 น.
วันที่: 19 กันยายน 2562
เวลา: 18:00 น. – 19:30 น.
สถานที่: ซี จังชั่น, ห้อง 408, หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ผู้จัด: ซี จังชั่น
คำทั่วไปที่เรียก “ชาวเล” หรือ “คนแห่งท้องทะเล” นำมาใช้กัยประชากรหลายชีวิตที่อาศัยอยู่รอบชายฝั่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเป็นเวลากว่าหลายร้อยปี
คำทั่วไปที่เรียก “ชาวเล” หรือ“ ผู้คนแห่งท้องทะเล” นำไปใช้กับประชากรจำนวนมากที่อาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มานานหลายร้อยปี การดำรงอยู่ของพวกเขาท่องทะเลเป็นประจำถูกคุกคามโดยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่อยู่รายล้อมตัวพวกเขา
ในวันที่ 19 กันยายน 2019 เวลา 18.00 น. ทาง ซี จังชั่น จะมีการอภิปรายเกี่ยวกับกลุ่มชาวเล 3 กลุ่ม ซึ่งอาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย ได้แก่ มอแกน, มอแกลน และ อูรักลาโว้ย ที่กระจัดกระจายไปทั่วหมู่เกาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะมุ่งเน้นไปที่มอแกนซึ่งมีประชากร 1,000 คนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ของ จ. ระนอง, จ. พังงา และ จ. ภูเก็ต โดยปกติพวกเขาจะทำการตั้งถิ่นฐานชั่วคราวในช่วงฤดูมรสุม แต่รัฐบาลพยายามที่จะย้ายพวกเขาไปสู่การตั้งถิ่นฐานที่ถาวรมากขึ้น ซึ่งผลักดันให้พวกเขาต้องปรับวิถีชีวิต นอกจากนี้ ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม และมาตรการที่ใช้ในการปกป้องสิ่งแวดล้อมของอุทยานทางทะเลในพื้นที่ที่พวกเขาเคยใช้ชีวิตอยู่ เป็นการจำกัดทางเลือกในการดำรงชีวิตของพวกเขา การเสวนาจะนำเสนอภาพถ่ายเกี่ยวกับชีวิตและความเป็นอยู่ของชาวมอแกนในหมู่เกาะสุรินทร์ ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงบทบาทของรัฐในการปกครองคนพื้นเมืองและผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชาวเล และวิถีชีวิตของพวกเขา
งานเสวนานี้จะจัดเป็นภาษาไทย (โปรดทราบ จะไม่มีการแปลภาษาอังกฤษ)
ผู้ดำเนินรายการ: ทิพย์อักษร มันปาติ, เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารและโลจิสติกส์, ซี จังชั่น
ผู้ร่วมเสวนา:
- ยศธร ไตรยศ, ช่างภาพ และผู้ก่อตั้ง เรียลเฟรม
- ดร. นฤมล อรุโณทัย, อาจารย์และนักวิจัย, สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- วิทวัส เทพสง, ผู้ประสานงานเครือข่ายชาวเลอันดามัน
คำถาม/คำตอบ
ประวัติย่อของผู้ร่วมเสวนา
ยศธร ไตรยศ
ยศธร ไตรยศ เป็นช่างภาพ และผู้ก่อตั้ง เรียลเฟรม มีความสนใจในการนำเสนอเรื่องราวของผู้คนที่อยู่ในสถานการณ์อ่อนไหว รวมถึงประเด็นสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย เกี่ยวกับงานของยศธร โปรดดูเว็บไซต์ http://realframe.co/
ดร. นฤมล อรุโณทัย
ดร. นฤมล อรุโณทัย เป็นอาจารย์และนักวิจัยที่สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดร.นฤมลทำงานวิจัยเกี่ยวกับชาวเลในภาคใต้ของประเทศไทย
วิทวัส เทพสง
วิทวัส เทพสง เป็นนักเคลื่อนไหวท้องถิ่น ทำงานร่วมกับเครือข่ายชาวเลอันดามัน วิทวัสทำงานมาหลายปีเพื่อส่งเสริมสิทธิของชาติพันธ์พื้นเมืองของชาวเล บริเวณชายฝั่งอันดามัน ภาคใต้ของประเทสไทย
สำหรับข้อมูลและการสำรองที่นั่งของงาน กรุณาส่งอีเมล์มาที่ southeastasiajunction@gmail.com หรือ โทรศัพท์/ว็อทส์แอ็ป +66970024140
โปรดทราบ: การเข้าร่วมงานไม่มีค่าใช้จ่าย แต่เรายินดีรับการบริจาค
ผู้จัดงาน
ซี จังชั่น, พื้นที่เกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซี จังชั่น มีเป้าหมายเพื่อกระชับความเข้าใจและความซาบซึ้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในทุกๆ มิติของสังคมวัฒนธรรม นับตั้งแต่ศิลปะ และวิถีชีวิต ไปจนถึงเศรษฐกิจและการพัฒนา ซี จังชั่น ตั้งอยู่ที่ห้อง 408 ของหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หรือ หอศิลป์ฯ กรุงเทพ (อยู่ตรงกันข้ามกับศูนย์การค้ามาบุญครอง ใกล้กับรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีศูนย์กีฬาแห่งชาติ) ซี จังชั่น อำนวยการให้สาธารณะเข้าถึงแหล่งความรู้ และการแลกเปลี่ยนระหว่างนักเรียนรักศึกษา, นักปฏิบัติ และผู้ที่มีความชื่นชอบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดู www.seajunction.org และเข้าร่วมกลุ่มเฟสบุคได้ที่ : http://www.facebook.com/groups/1693055870976440/