SEA Junction July 2019 Agenda

The program in June was intense with a two-week photo exhibition and related discussions on the conflict-shadowed lives of people in Southern Thailand, which was held among a variety of other wide-ranging events from philanthropy to reverse glass paintings.

นิทรรศการภาพ ‘พื้นที่สีเทา’ เล่าความเป็นคน เติมสิทธิมนุษยชนให้ภาพจำชายแดนใต้

ทุกครั้งเมื่อข่าวสามจังหวัดชายแดนใต้กระเด็นกระดอนเข้าสู่สายตา หรือเมื่อเราใช้ปลายนิ้วค้นหาเรื่องราวของพื้นที่นี้บนอินเทอร์เน็ต ภาพที่เกิดขึ้น หากมองอย่างนักศิลป์

Rebuilding Lives: ในประเทศที่อาชญากรลอยนวล ซ้อมทรมานไม่มีผู้รับผิด

“เราอยากดึงคนที่เคยหันหลังให้กลับมาแก้ไขบางอย่างร่วมกัน เพราะการแก้ไขปัญหานี้ได้มันจะต้องเกิดจากทั้งคนในพื้นที่และคนนอกพื้นที่”

The Isaander พื้นที่สีเทา : มองเขาให้แม่นเฮา

“ขอคำถามดีๆ ให้ผมตอบคมๆ เอาให้ผมเกิดในวงการเลยได้ไหม” ช่างภาพผู้เลี้ยงหมาเป็นงานหลัก ปลูกผักเป็นอาชีพเสริม กล่าวกับเรา “ทำไมต้องถ่ายเป็นขาวดำวะพี่ กล้องเสียเหรอ” เรายิงคำถามที่แหลมคมที่สุดนี้ สวนไปทันทีใน 2 มิลลิเซคคั่นนั้น

‘พื้นที่สีเทา’ เล่า ‘ความธรรมดา’ ในพื้นที่ที่ ‘กฎหมายพิเศษ’ ยังคงอยู่

นิทรรศการ ‘พื้นที่สีเทา’ ของยศธร ไตรยศ ช่างภาพกลุ่มเรียลเฟรม เล่าความธรรมดาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ที่ถูกกดทับสิทธิและเสรีภาพด้วยกฎอัยการศึก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน และพ.ร.บ.ความมั่นคง ภายใต้ข้ออ้าง ‘เรื่องความมั่นคง’

SEA Junction June 2019 Agenda

Dear Partners and Friends of SEA Junction, In May we successfully held the second event of the regular series “Wielding the funding strings of civil society in Southeast Asia” with OSF and we will continue to explore the issue of home-grown philanthropy also this month with the series’ third event. June is further dedicated to…

Capital of Mae La : ในโลกที่รัฐชาติไม่ให้สิทธิผู้ลี้ภัยเป็นพลเมือง

Capital of Mae La คือสารคดีเกี่ยวกับค่ายผู้อพยพ ‘แม่หละ’ ค่ายผู้ลี้ภัยขนาดใหญ่สุด ในจำนวนค่ายผู้ลี้ภัย 9 แห่ง ตามแนวเขตแดนไทย-พม่า เป็นที่อยู่อาศัยของผู้ลี้ภัยเกิน 40,000 คน เป็นสารคดีที่ใช้เวลาถ่ายทำ 4 ปี ตลอดการทำวิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตของผู้กำกับ ฟุตเทจจำนวนหลายพันชั่วโมงถูกคัดออกมาให้เหลือเพียงแค่ครึ่งชั่วโมงกว่า